การวัดด้านพุทธิพิสัย(Cognitive Domain)
การวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย จะใช้ข้อสอบต่างๆเป็นเครื่องมือวัด ส่วนจะใช้ข้อสอบชนิดใด ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการวัดนั้น
การวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย จะใช้ข้อสอบต่างๆเป็นเครื่องมือวัด ส่วนจะใช้ข้อสอบชนิดใด ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการวัดนั้น
ข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
Bloom และคณะได้แบ่งพฤติกรรมทางพุทธิพิสัยออกเป็น 6 ขั้นตอน โดยเรียงจากพฤติกรรมต่ำสุดถึงสูงสุด และพฤติกรรมแต่ละขั้นมีวิธีการเขียนข้อสอบวัดดังนี้
Bloom และคณะได้แบ่งพฤติกรรมทางพุทธิพิสัยออกเป็น 6 ขั้นตอน โดยเรียงจากพฤติกรรมต่ำสุดถึงสูงสุด และพฤติกรรมแต่ละขั้นมีวิธีการเขียนข้อสอบวัดดังนี้
1. ความรู้ความจำ (Knowledge) หมายถึงความสามารถในการระลึกถึงเรื่องราวต่างๆ
ที่เคยประสบมา โดยที่เรื่องราวนั้นอาจได้มาจากที่ใดที่หนึ่งก็ได้ แบ่งออกได้เป็น 3
ประเภท
1.1
ความรู้ในเนื้อเรื่อง เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
ในเรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่างๆ ได้แก่
- ความรู้เกี่ยวกับศัพท์และนิยาม เช่น ความหมายของศัพท์ นิยาม คำแปล ความหมาย ชื่อ อักษรย่อ สัญลักษณ์ รูปภาพ และเครื่องหมายต่างๆ
- ความรู้เกี่ยวกับกฎและความจริง เช่น การถามสูตร การถามเนื้อเรื่อง ถามขนาด ถามจำนวน
1.2 ความรู้ในวิธีดำเนินการ ได้แก่ วิธีประพฤติปฏิบัติและวีดำเนินการในกิจการงานและเรื่องราว ได้แก่
- ความรู้เกี่ยวกับแบบแผนธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ วิธีประพฤติปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน และ ธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ตามที่สังคมได้ตกลงกัน
- ความรู้เกี่ยวกับลำดับขั้นและแนวโน้ม ได้แก่ การถามเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน –หลังว่ามีลำดับเป็นอย่างไร
- ความรู้เกี่ยวกับการจัดประเภท ได้แก่ ความสามารถในการจำแนกวัตถุสิ่งของ หมวดหมู่ และรูปร่าง
- ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ ได้แก่ การตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ
- ความรู้ในวิธีการดำเนินการ ได้แก่ การวัดถึงวิธีปฏิบัติงาน ด้านต่างๆ ว่าปฏิบัติตามที่ผู้สอนไว้ได้หรือไม่
1.3 ความรู้รวบยอดในเนื้อเรื่อง คือ การนำเอาสมรรถภาพ 2 ชนิดมารวมกัน ได้แก่
- ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาและการขยายหลักวิชา ทำได้โดยอาจตั้งคำถามในลักษณะให้บอกคติหรือหัวใจที่เป็นวิชาของเรื่องนั้น
- ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง ทำได้โดย ตั้งคำถามหลักจากของหลายสิ่ง หลายเนื้อหาที่สัมพันธ์กันเป็นพวกเดียวกัน
- ความรู้เกี่ยวกับศัพท์และนิยาม เช่น ความหมายของศัพท์ นิยาม คำแปล ความหมาย ชื่อ อักษรย่อ สัญลักษณ์ รูปภาพ และเครื่องหมายต่างๆ
- ความรู้เกี่ยวกับกฎและความจริง เช่น การถามสูตร การถามเนื้อเรื่อง ถามขนาด ถามจำนวน
1.2 ความรู้ในวิธีดำเนินการ ได้แก่ วิธีประพฤติปฏิบัติและวีดำเนินการในกิจการงานและเรื่องราว ได้แก่
- ความรู้เกี่ยวกับแบบแผนธรรมเนียมประเพณี ได้แก่ วิธีประพฤติปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน และ ธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ตามที่สังคมได้ตกลงกัน
- ความรู้เกี่ยวกับลำดับขั้นและแนวโน้ม ได้แก่ การถามเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน –หลังว่ามีลำดับเป็นอย่างไร
- ความรู้เกี่ยวกับการจัดประเภท ได้แก่ ความสามารถในการจำแนกวัตถุสิ่งของ หมวดหมู่ และรูปร่าง
- ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ ได้แก่ การตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ
- ความรู้ในวิธีการดำเนินการ ได้แก่ การวัดถึงวิธีปฏิบัติงาน ด้านต่างๆ ว่าปฏิบัติตามที่ผู้สอนไว้ได้หรือไม่
1.3 ความรู้รวบยอดในเนื้อเรื่อง คือ การนำเอาสมรรถภาพ 2 ชนิดมารวมกัน ได้แก่
- ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาและการขยายหลักวิชา ทำได้โดยอาจตั้งคำถามในลักษณะให้บอกคติหรือหัวใจที่เป็นวิชาของเรื่องนั้น
- ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง ทำได้โดย ตั้งคำถามหลักจากของหลายสิ่ง หลายเนื้อหาที่สัมพันธ์กันเป็นพวกเดียวกัน
ตัวอย่างข้อสอบ
หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในระบบคอมพิวเตอร์เรียกว่า อะไร ?
ก. บิต
ข. ไบต์
ค. ฟิลด์
ง. เร็คคอร์ด
หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุดในระบบคอมพิวเตอร์เรียกว่า อะไร ?
ก. บิต
ข. ไบต์
ค. ฟิลด์
ง. เร็คคอร์ด
2. ความเข้าใจ (Comprehension)
ตัวอย่างข้อสอบ
หากนักเรียนต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นระบบเครือข่ายไม่เกินสองเครื่อง นักเรียนจะเลือกใช้อุปกรณ์ใดเพื่อใช้ในการเชื่อมต่อ
ก. การ์ดแลนและสายสัญญาณ ข. การ์ดแลนและฮับ
ค. ฮับและสายสัญญาณ ง. สวิตซ์และฮับ
ค. ฮับและสายสัญญาณ ง. สวิตซ์และฮับ
3. การนำไปใช้ (Application)
ตัวอย่างข้อสอบ
เลขฐานสองค่า 11101.101 เขียนเป็นเลขฐานสิบได้อย่างไร
ก. 236 ข. 237
ค. 472 ง.
474
4. การวิเคราะห์ (Analysis) คือ
ความสามารถในการแยกสิ่งสำเร็จรูปออกมาเป็นส่วนย่อยๆตามหลักและกฎที่กำหนดให้เพื่อหาความจริง
แยกเป็นสามขั้น
4.1 วิเคราะห์ความสำคัญ เช่น ให้หาความเด่นชัดของข้อความ ให้จำแนกประเภท
4.2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ เช่น ค้นหาความเกี่ยวข้องของคุณลักษณะใดๆ
4.3 วิเคราะห์หลักการ เช่น ค้นหาโครงสร้างองระบบของวัตถุสิ่งของ
4.1 วิเคราะห์ความสำคัญ เช่น ให้หาความเด่นชัดของข้อความ ให้จำแนกประเภท
4.2 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ เช่น ค้นหาความเกี่ยวข้องของคุณลักษณะใดๆ
4.3 วิเคราะห์หลักการ เช่น ค้นหาโครงสร้างองระบบของวัตถุสิ่งของ
ตัวอย่างข้อสอบ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใดมีความสำคัญเรื่องการแสดงผลภาพ
ก. RAM ข. CPU
ค. ROM ง. Graphic Card
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใดมีความสำคัญเรื่องการแสดงผลภาพ
ก. RAM ข. CPU
ค. ROM ง. Graphic Card
5. การสังเคราะห์ (Synthesis) เป้นความสามารถในการรวม
หรือผสมของตั้งแต่สองสิ่งเป็นอย่างน้อยเข้าด้วยกัน จนกลายเป็นส่งสำเร็จรูปชิ้นใหม่แบ่งเป็น
3 ประเภท คือ
ตัวอย่างข้อสอบ
วิธีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ดี คือการปลูกป่าและไม่ทำลายป่า แต่จะให้ได้ผลดีต้องเปลี่ยนลักษณะนิสัยที่เกี่ยวกับอะไร ?
ก. ค่านิยม ข. การเสียสละ
ค. การใฝ่รู้ ง. การมีวินัย
6. การประเมินค่า (Evaluation) หมายถึงความสามารถในการตัดสิน
ตีราคา โดยอาศัยเกณฑ์ และมาตรฐานที่วางไว้แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
ตัวอย่างข้อสอบ
การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน ควรพิจารณาอย่างไร
ก. พิจารณาความเหมาะสมของลักษณะงานกับซอฟต์แวร์ที่เลือก
ข. พิจารณาความสามารถของโปรแกรม
ค. พิจารณาบริการหลังการขาย
ง. พิจารณาราคาที่ต่ำที่สุด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น