INSIDE OUT
Inside Out: มหัศจรรย์อารมณ์อลเวง เป็นภาพยนตร์ในรูปแบบ Animation โดยผู้กำกับเจ้าของรางวัลออสการ์ พีท ด็อกเตอร์ (Pete Docter) โดยผลงานเรื่องนี้ของเขา จะนำความรู้สึกของเราทุกคนออกมา
ผ่านตัวละครเด็กหญิง “ไรลีย์” ที่จะต้องเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงเพื่อเติบโตอย่างแท้จริง
โดยมีเจ้าอารมณ์ 5 ตัว ในสมองคอยควบคุมให้ทุกอย่าง
1. Joy
(ลั้ลลา) ตัวแทนแห่งความสุข
ผู้มีมาพร้อมร้อยยิ้มกว้างและเรื่องสนุกสนาน
2. Anger
(ฉุนเฉียว) ตัวแทนของความรู้สึกโกรธ
ผู้มาพร้อมกับไฟบนหัวยามเมื่อรู้สึกโมโหจัด
3. Disgust
(หยะแหยง) ตัวแทนของความรู้สึกรังเกียจ
อารมณ์ที่จะแสดงออกถึงความไม่พอใจ มีหน้าที่ป้องกันไรลีย์ทางร่างกายและสังคม
4. Fear
(กลั๊วกลัว) ตัวแทนแห่งความรู้สึกกลัว มีหน้าที่ควบคุมความปลอดภัยให้กับไรลีย์
5. Sadness
(เศร้าซึม) ตัวแทนของความรู้สึกโศกเศร้า
เรื่องราวของ
ไลลีย์ เด็กหญิงวัย 11 ปี ที่เติบโตขึ้นมาในชีวิตแบบตะวันตกตอนกลาง
ในเนื้อเรื่องความทรงจำหลักต่างๆ จะส่งผลต่อบุคลิกภาพของไลลีย์
และมีเหตุผลทำให้บุคลิภาพของไรลีย์เปลี่ยนไปเมื้อเธอ จำต้องย้ายบ้านตามพ่อแม่มายังเมืองซาน
ฟรานซิสโก หลังจากพ่อของต้องมาเริ่มงานที่ใหม่ ณ เมืองที่ไรลีย์ไม่คุ้นเคย ชีวิตของไรลีย์ต้องเริ่มต้นใหม่อีกครั้ง
เธอต้องปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ที่แตกต่างออกไปจากเดิม
และต้องเผชิญกับอารมณ์มากมายที่เข้ามาหลังจากการเปลี่ยนแปลงชีวิตครั้งนี้ของเธอ
จนนำมาสู่การแสดงออกทาง อารมณ์ต่างๆ ทั้ง 5 ได้แก่ ความสุข Joy (ลั้ลลา), ความกลัว Fear (กลั๊วกลัว),ความโกรธ Anger (ฉุนเฉียว), ความน่ารังเกียจ
Disgust (หยะแหยง) และความเศร้า
กลั๊วกลัว (Sadness) เมื่ออารมณ์ทั้งหมด
ล้วนอาศัยอยู่ในศูนย์บัญชาการใหญ่
ภายใต้การควมคุมของจิตใจไรลีย์ กลไกทางอารมณ์ของไรลีย์
กลไกอารมณ์ของไรลีย์เริ่มมีปัญหา เมื่อ Joy (ลั้ลลา) พยายามปิดกั้นไม่ให้ความเศร้าจาก
Sadness (เศร้าซึม) ได้สัมผัสไรลีย์
จนทำให้ความทรงจำหลักของไรลีย์ Joy (ลั้ลลา) และ Sadness หลุดเข้าไปกำแพงแห่งความทรงจำอันกว้างใหญ่
จนกลายเป็นเรื่องราวสุดยุ่งเหยิงในการพาความทรงจำหลักกลับสู่ศูนย์ควบคุมอารมณ์ และการหลุดเข้าไปในกำแพงแห่งความทรงจำครั้งนี้ทำให้
Joy (ลั้ลลา)รู้ว่าความเศร้ามันไม่ได้เลวร้ายอย่างที่คิด
และทำให้ Joy (ลั้ลลา) สามารถแก้ปัญหาในเหตุการณ์ครั้งนี้ได้
สิ่งที่ได้จากการดู Inside out
มนุษย์ทุกคนล้วนแล้วแต่มีอารมณ์เยอะแยะต่างๆมากมาย มีทั้ง ความสุข ความกลัว ความโกรธ ความน่ารังเกียจ และความเศร้า ความรู้สึกเหล้านี้ล้วนแล้วแต่เกิดจากสิ่งเร้าหรือสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตัวเราที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ทำให้สิ่งที่เกิดขึ้นเหล้านั้นนำไปเก็บไว้ในความทรงจำของเรา และความทรงจำเหล้านั้นจะอยู่กับเราได้นานแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับว่าความทรงจำนั้นสำคัญกับชีวิตเราที่ทำให้เรานึกถึงได้เสมอ ทำให้ความทรงจำเหล่านั้นไม่ถูกลบเลือนไป
มนุษย์ทุกคนล้วนแล้วแต่มีอารมณ์เยอะแยะต่างๆมากมาย มีทั้ง ความสุข ความกลัว ความโกรธ ความน่ารังเกียจ และความเศร้า ความรู้สึกเหล้านี้ล้วนแล้วแต่เกิดจากสิ่งเร้าหรือสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตัวเราที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ทำให้สิ่งที่เกิดขึ้นเหล้านั้นนำไปเก็บไว้ในความทรงจำของเรา และความทรงจำเหล้านั้นจะอยู่กับเราได้นานแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับว่าความทรงจำนั้นสำคัญกับชีวิตเราที่ทำให้เรานึกถึงได้เสมอ ทำให้ความทรงจำเหล่านั้นไม่ถูกลบเลือนไป
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
1. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
เพียเจต์เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนเกิดมาพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและโดยธรรมชาติมนุษย์จะเป็นผู้พร้อมที่จะมีกริยากรรม หรือเริ่มกระทำก่อน
ซึ่งจะเหมือนตอนที่ไรลีย์แรกเกิด ถึงตอนไรยังเป็นเด็ก ไรลีย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดแล้อม โดยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆของร่างกาย และตอนที่ไรลีย์
11 ปี ไรลีย์เริ่มจะมีความคิดและมีอารมณ์ที่มากมายขึ้น
1. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
เพียเจต์เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนเกิดมาพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและโดยธรรมชาติมนุษย์จะเป็นผู้พร้อมที่จะมีกริยากรรม หรือเริ่มกระทำก่อน
ซึ่งจะเหมือนตอนที่ไรลีย์แรกเกิด ถึงตอนไรยังเป็นเด็ก ไรลีย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดแล้อม โดยประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆของร่างกาย และตอนที่ไรลีย์
11 ปี ไรลีย์เริ่มจะมีความคิดและมีอารมณ์ที่มากมายขึ้น
2. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
บรูเนอร์เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งนำไปสู่การค้นพบ และการแก้ปัญหา เรียกว่า การเรียนรู้โดยการค้นพบ
ซึ่งเหมือนกับ ไรลีย์ เธออยู่ที่ มินิโซต้า ซึ่งธรรมชาติของที่นั้นมีอากาศหนาวและมีฮิมะตกที่นั้นมีน้ำแข็งมากจึงทำให้เธอได้เล่นกีฬาฮอกกี้ และชื่นชอบการเล่นกีฬาชนิดนี้ เมื่อเธอย้ายมาอยู่สถานที่ใหม่กับเพื่อนใหม่ๆเธอต้องเล่นฮอกกี้อีกครั้งกับเพื่อนใหม่ ในใจล้วนเกิดความกลัวลังเลและเศร้า ลั้นลาจึงพยายามแก้ปัญหาโดยนำภาพความทรงจำที่ดีเกี่ยวกับตอนเล่นฮอกกี้กับเพื่อนๆที่บ้านเก่า เพื่อให้ไรลีย์มีความสุขกับการเล่นฮอกกี้อีกครั้ง
บรูเนอร์เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งนำไปสู่การค้นพบ และการแก้ปัญหา เรียกว่า การเรียนรู้โดยการค้นพบ
ซึ่งเหมือนกับ ไรลีย์ เธออยู่ที่ มินิโซต้า ซึ่งธรรมชาติของที่นั้นมีอากาศหนาวและมีฮิมะตกที่นั้นมีน้ำแข็งมากจึงทำให้เธอได้เล่นกีฬาฮอกกี้ และชื่นชอบการเล่นกีฬาชนิดนี้ เมื่อเธอย้ายมาอยู่สถานที่ใหม่กับเพื่อนใหม่ๆเธอต้องเล่นฮอกกี้อีกครั้งกับเพื่อนใหม่ ในใจล้วนเกิดความกลัวลังเลและเศร้า ลั้นลาจึงพยายามแก้ปัญหาโดยนำภาพความทรงจำที่ดีเกี่ยวกับตอนเล่นฮอกกี้กับเพื่อนๆที่บ้านเก่า เพื่อให้ไรลีย์มีความสุขกับการเล่นฮอกกี้อีกครั้ง
3. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล
ออซูเบลได้ให้ความหมายของการเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยผู้เรียนเห็นความสำสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนรู้กับโครงสร้างทางปัญญาที่เก็บไว้ในความทรงจำและจะสามารถนำมาใช้ในอนาคต การเรียนรู้แบบนี้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้เชื่อมโยงสิ่งที่จะเรียนรู้ใหม่หรือข้อมูลใหม่กับความรู้เดิมที่มีมาก่อนที่มีโครงสร้างในสติปัญญาของผู้เรียนมาแล้ว
ซึ่งทฤษฎีนี้สอนคลองกับ ความททรงจำของไรลีย์ ที่เรียนรู้สิ่งต่างๆมาแต่ละช่วงเวลาของชีวิต เมื่อเขาพบเจอสิ่งเหล่านั้นใหม่อีกครั้งไรลีย์ก็จะสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตกับปัจจุบันได้
ออซูเบลได้ให้ความหมายของการเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยผู้เรียนเห็นความสำสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนรู้กับโครงสร้างทางปัญญาที่เก็บไว้ในความทรงจำและจะสามารถนำมาใช้ในอนาคต การเรียนรู้แบบนี้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้เชื่อมโยงสิ่งที่จะเรียนรู้ใหม่หรือข้อมูลใหม่กับความรู้เดิมที่มีมาก่อนที่มีโครงสร้างในสติปัญญาของผู้เรียนมาแล้ว
ซึ่งทฤษฎีนี้สอนคลองกับ ความททรงจำของไรลีย์ ที่เรียนรู้สิ่งต่างๆมาแต่ละช่วงเวลาของชีวิต เมื่อเขาพบเจอสิ่งเหล่านั้นใหม่อีกครั้งไรลีย์ก็จะสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตกับปัจจุบันได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น